การประชุมสำนักธรรมศาสตร์และการเมือง ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๗

วันพุธที่ ๑๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๗ เวลา ๐๙.๐๐ น. ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ปิยนาถ บุนนาค ประธานสำนักธรรมศาสตร์และการเมือง เป็นประธานการประชุมสำนักธรรมศาสตร์และการเมือง ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๗ โดยมีราชบัณฑิต ภาคีสมาชิก และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุม ณ ห้องประชุม ๕๐๑ ชั้น ๕ สำนักงานราชบัณฑิตยสภา และผ่านระบบ …

ประชุมสำนักธรรมศาสตร์และการเมือง ครั้งที่ ๕/๒๕๖๗

วันพุธที่ ๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๗ เวลา ๐๙.๐๐ น. ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ปิยนาถ บุนนาค ประธานสำนักธรรมศาสตร์และการเมือง เป็นประธานการประชุมสำนักธรรมศาสตร์และการเมือง ครั้งที่ ๕/๒๕๖๗ โดยมีราชบัณฑิต ภาคีสมาชิก และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุม ณ ห้องประชุม ๕๐๑ ชั้น ๕ สำนักงานราชบัณฑิตยสภา และผ่านระบบ …

ประชุมสำนักธรรมศาสตร์และการเมือง ครั้งที่ ๔ พ.ศ. ๒๕๖๗

วันพุธที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๗ เวลา ๐๙.๐๐ น. ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ปิยนาถ บุนนาค ประธานสำนักธรรมศาสตร์และการเมือง เป็นประธานการประชุมสำนักธรรมศาสตร์และการเมือง ครั้งที่ ๔ /๒๕๖๗ โดยมีราชบัณฑิต ภาคีสมาชิก และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุม ณ ห้องประชุม ๕๐๑-๕๐๓ ชั้น ๕ สำนักงานราชบัณฑิตยสภา …

คดีพญาระกา–บทเรียนจากประวัติศาสตร์ไทย

นายกฤษฎา บุณยสมิตภาคีสมาชิก คดีพญาระกาเป็นคดีสำคัญในประวัติศาสตร์ไทยคดีหนึ่ง ซึ่งเป็นคดีพิพาทในข้อหาหมิ่นประมาทโดยการโฆษณา เนื่องจากพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ ทรงพระนิพนธ์บทละครชื่อ “ปักษีปกรณัมเรื่องพญารกา” เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๓ มีข้อความหมิ่นประมาทพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม ทำให้เสื่อมเสียพระเกียรติยศอย่างร้ายแรง พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์  ทรงเข้าพระทัยผิดว่าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงทราบเรื่องบทละครแล้ว แต่ไม่ทรงว่ากล่าวอย่างไรในกรณีนี้ จึงทรงโทมนัสน้อยพระทัยยิ่ง ทรงเห็นในขณะนั้นว่าไม่มีทางใดจะทำได้อีกนอกจากการลาออกจากตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงยุติธรรม แล้วพระองค์เสด็จออกจากกรุงเทพฯ ไปโดยมิได้กราบบังคมทูลลาตามธรรมเนียมของเจ้านาย จากนั้นผู้พิพากษาจำนวน ๒๘ นาย ทูลเกล้าฯ …