ราชบัณฑิต วันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๗ สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ประเภทวิชาสังคมศาสตร์ สำนักธรรมศาสตร์และการเมือง
ตำแหน่งสำคัญในราชบัณฑิตยสถาน/ราชบัณฑิตยสภา
– อุปนายกราชบัณฑิตยสถาน คนที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๖๒–๒๕๖๔)
– อุปนายกราชบัณฑิตยสถาน คนที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๘–๒๕๖๐)
– ประธานสำนักธรรมศาสตร์และการเมือง (พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๒)
– เลขานุการสำนักธรรมศาสตร์และการเมือง (๒๕๕๒–๒๕๕๖)
– กรรมการ ในคณะกรรมการจัดทำพจนานุกรมศัพท์รัฐศาสตร์ (พ.ศ. ๒๕๓๖–๒๕๕๒)
– กรรมการ ในคณะกรรมการจัดทำพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา (พ.ศ. ๒๕๓๘–๒๕๔๙)
– ประธานกรรมการ ในคณะกรรมการจัดทำพจนานุกรมศัพท์ประชากรศาสตร์ (พ.ศ. ๒๕๔๙–๒๕๕๕)
– ประธานกรรมการ ในคณะกรรมการจัดทำพจนานุกรมศัพท์มานุษยวิทยา (พ.ศ. ๒๕๕๕–๒๕๖๐)
– ประธานกรรมการ ในคณะกรรมการจัดทำพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา (พ.ศ. ๒๕๖๐–ปัจจุบัน)
– บรรณาธิการ ในคณะบรรณาธิการจัดทำสารานุกรมการเมืองการปกครองไทย (พ.ศ. ๒๕๕๖–ปัจจุบัน)
ประวัติการศึกษา
– รัฐศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๐๘)
– รัฐศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๑๑)
– Master of Art (Politics) University of Manchester, ประเทศอังกฤษ (พ.ศ. ๒๕๑๖)
– Doctor of Philosophy (South-East Asian Sociology) University of Hull, ประเทศอังกฤษ (พ.ศ. ๒๕๒๑)
– ปริญญาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ประวัติการทำงานวิชาการ
– อาจารย์, ผู้ช่วยศาสตราจารย์, รองศาสตราจารย์, ศาสตราจารย์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๑๓–๒๕๓๓)
ประวัติการทำงานวิชาชีพ
– ผู้ว่าราชการจังหวัดกระบี่ (พ.ศ. ๒๕๓๙–๒๕๔๐)
– ผู้ว่าราชการจังหวัดมุกดาหาร (พ.ศ. ๒๕๔๑–๒๕๔๒)
– ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ (พ.ศ. ๒๕๔๓–๒๕๔๔)
– ประธานกรรมการการเลือกตั้งจังหวัดสมุทรปราการ (พ.ศ. ๒๕๔๕–๒๕๔๘)
ประวัติการทำงานบริหาร
– อธิการบดี มหาวิทยาลัยนเรศวร (พ.ศ. ๒๕๓๓–๒๕๓๕)
– ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและแผนมหาดไทย กระทรวงมหาดไทย (พ.ศ. ๒๕๓๖–๒๕๓๙)
– อุปนายกสภามหาวิทยาลัยนเรศวร (พ.ศ. ๒๕๓๓–๒๕๓๕)
– กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยเวบสเตอร์ ประเทศไทย
– กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ สภามหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต (พ.ศ. ๒๕๕๔–๒๕๕๗)
– กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ สภามหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี (พ.ศ. ๒๕๖๒–ปัจจุบัน)
– นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต (พ.ศ. ๒๕๕๗–ปัจจุบัน)
ผลงานวิชาการ
– Political Buddhism in Southeast Asia (London: C. Hurst Co., 1977)
– Political Activism of the Thai Buddhism (Singapore: Centre for Southeast Asian Studies,
1982)
– Buddhism and Political Legitimacy in Thailand, Laos and Cambodia (Bangkok:
Chulalongkorn University Press, 1992)
– Buddhist Approach to Development
ความเชี่ยวชาญ
การปกครอง การเมือง สังคมวิทยาการเมือง
เกียรติคุณที่ได้รับ
– ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
– มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) (๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๔)
– มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) (๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๙)