ภาคีสมาชิก วันที่ ๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๑ สาขาวิชาจิตวิทยา ประเภทวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ สำนักธรรมศาสตร์และการเมือง
ตำแหน่งสำคัญในราชบัณฑิตยสถาน/ราชบัณฑิตยสภา
- กรรมการ ในคณะกรรมการศึกษาและพัฒนาความรู้ทางจิตวิทยาและสังคม (กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๑–ปัจจุบัน)
- กรรมการ ในคณะกรรมการจัดทำพจนานุกรมศัพท์จิตวิทยา (ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๑–ปัจจุบัน)
ประวัติการศึกษา
– วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาจิตวิทยาสังคม มหาวิทยาลัยรามคำแหง (พ.ศ. ๒๕๔๐)
– วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ มหาวิทยาลัยรามคำแหง (พ.ศ. ๒๕๔๔)
– ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ มหาวิทยาลัยรามคำแหง (พ.ศ. ๒๕๕๓)
ประวัติการทำงานวิชาการ
– ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ตั้งแต่วันที่ ๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
– รองศาสตราจารย์ ตั้งแต่วันที่ ๒๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
ประวัติการทำงานวิชาชีพ
– อาจารย์ประจำ ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ตั้งแต่วันที่ ๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๕
ผลงานวิชาการ
– ประจักษ์ ปฏิทัศน์. (๒๕๕๔). ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลส่วนบุคคลกับความต้องการเรียนวิชาในกลุ่มจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การของนักศึกษาปริญญาตรี สาขาจิตวิทยา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว. คณะศึกษาศาสตร์. มหาวิทยาลัยศิลปากร. ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากคณะศึกษาศาสตร์. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
– ประจักษ์ ปฏิทัศน์, นิรันดร์ จุลทรัพย์, สุวรี ศิวะแพทย์, เลหล้า ตรีเอกานุกูล, อำนวย บุญรัตนไมตรี, ณิชาภัทร ปฏิทัศน์, และทศทัศน์ บุญตา. (๒๕๕๖). แนวทางการเสริมสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยและการมีส่วนร่วมทางการเมืองของพลเมืองไทยกลุ่มเจเนอเรชั่นแซด. รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากสภาพัฒนาการเมือง ประจำปี ๒๕๕๖.
– ประจักษ์ ปฏิทัศน์. (๒๕๕๘). ความเชื่อใจในการปฏิสัมพันธ์กับคอมพิวเตอร์ของคนเจเนอเรชั่นแซด. ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (ทุนนักวิจัยทั่วไป ๒๕๕๘).
– ประจักษ์ ปฏิทัศน์. (๒๕๕๙). อิทธิพลของอคติ การรับรู้ความเสี่ยงและอุปสรรค ต่อความตั้งใจที่จะเป็นผู้ประกอบการธุรกิจสร้างสรรค์ของนักศึกษาอาชีวศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร. ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
– ประจักษ์ ปฏิทัศน์. (๒๕๕๕). โมเดลความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้เกียรติภูมิในอาชีพ อัตลักษณ์ทางสังคม รูปแบบการรู้คิด คุณภาพชีวิตการทำงานและภาระหนี้ของครูและบุคลากรทางการศึกษาของวิทยาลัยอาชีวศึกษาในเขตภาคกลาง. ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการ สกสค.
– ประจักษ์ ปฏิทัศน์. (๒๕๕๗). ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการรู้คิดกับรูปแบบ GOMS ในการปฏิสัมพันธ์กับคอมพิวเตอร์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (ทุนนักวิจัยทั่วไป ๒๕๕๗).
– ประจักษ์ ปฏิทัศน์. (๒๕๕๔). รูปแบบการรู้คิดกลุ่มที่ ๓ กับการทำนายพฤติกรรมการทำงานของมนุษย์. วารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์. ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑. พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๕๔
– ประจักษ์ ปฏิทัศน์. (๒๕๕๔). การปรับตัวตามทฤษฎีกบต้มกับความพร้อมของบัณฑิตไทยสู่ตลาดงานในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๑. มิถุนายน-ตุลาคม ๒๕๕๔
– Pratitas P. (2013). The Relations Model of Perceived Prestige, Social Identity, Cognitive Styles, Quality of Work Lift, and Debt Status of Teachers and Educational Personnel of Vocational Colleges in the Central Part of Thailand. The ๗th NRCT-ICSSR Joint Seminar on Inclusive Growth, Poverty Reduction and Human Security. Centara Grand & Bangkok Convention Centre at Central World, Bangkok, Thailand. 24-26 August 2013
– Pratitas P. (2014). Preparing entrepreneurial competencies for science and technology students, what are the opportunities and challenges? Proceedings of the 1st International Conference on Applied Arts, 14 July 2014. Chaophaya Park Hotel, Bangkok, Thailand. Organized by the Faculty of Applied Arts, King Mongkuts University of technology North Bangkok.
– Prajuk Pratitas. (2015). Entrepreneurship Education in Thailand: Emerging and Trends. The 34th Inter-University Conference: International and Regional Collaboration in Research, Curriculum and Student Experience. 3 April 2015. King Mongkut’s University of Technology North Bangkok.
ความเชี่ยวชาญ
จิตวิทยาการรู้คิด (Cognitive psychology)