ราชบัณฑิต วันที่ ๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๓ สาขาวิชาประวัติศาสตร์ ประเภทวิชาประวัติศาสตร์เอเชีย สำนักธรรมศาสตร์และการเมือง
ประวัติการศึกษา
– ปริญญาตรี (ประวัติศาสตร์), California State University (พ.ศ. ๒๕๐๓)
– ปริญญาโท (ประวัติศาสตร์), University of California, Berkeley (พ.ศ. ๒๕๐๕)
– Certificate, Pi Gamma Mu, Social Sciences Honorary Society, สหรัฐอเมริกา
ตำแหน่งสำคัญในราชบัณฑิตยสถาน/ราชบัณฑิตยสภา
– ราชบัณฑิตที่ปรึกษา
– ประธานบรรณาธิการจัดทำสารานุกรมประวัติศาสตร์สากล ภูมิภาคเอเชีย
ประวัติการทำงานวิชาการ
– ผู้อำนวยการสถาบันเอเชียตะวันออก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (พ.ศ. ๒๕๓๐–๒๕๔๒)
ประวัติการทำงานบริหาร
– ประธานมูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ (พ.ศ. ๒๕๕๕–ปัจจุบัน)
ผลงานวิชาการ
– ประวัติอารยธรรมญี่ปุ่น, ประวัติอารยธรรมอินเดีย, ประวัติอารยธรรมจีน, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (พ.ศ. ๒๕๑๖, ๒๕๒๐, ๒๕๒๑)
– เอเชียตะวันออกยุคใหม่ เล่ม ๑–๒. กรุงเทพฯ : โครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย (พ.ศ. ๒๕๑๘, ๒๕๕๐)
– ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น. โครงการญี่ปุ่นศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา (พ.ศ. ๒๕๔๓)
– ประวัติศาสตร์พม่า. กรุงเทพฯ : โครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ (พ.ศ. ๒๕๑๙, ๒๕๔๘, ๒๕๕๒, ๒๕๕๖)
– ประวัติศาสตร์เวียดนาม. กรุงเทพฯ : โครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ (พ.ศ. ๒๕๑๗, ๒๕๕๐, ๒๕๕๒, ๒๕๕๖)
– ประวัติศาสตร์อินโดนีเซีย. กรุงเทพฯ : โครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ (พ.ศ. ๒๕๒๐, ๒๕๕๒, ๒๕๕๖)
– ประวัติศาสตร์เวียดนาม. กรุงเทพฯ : โครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ (พ.ศ. ๒๕๒๐, ๒๕๕๐, ๒๕๕๖)
– ประวัติศาสตร์สิงคโปร์. (พ.ศ. ๒๕๕๕)
– อารยธรรมยุคใหม่ ภาค ๕. กรุงเทพฯ (พ.ศ. ๒๕๑๘)
– โมกุล. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์บรรณกิจ (พ.ศ. ๒๕๒๙)
– ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เล่ม ๑–๒. กรุงเทพฯ : โครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ (พ.ศ. ๒๕๑๗, ๒๕๔๙)
– บนเส้นทางสายไหมในสาธารณรัฐประชาชนจีน. (พ.ศ. ๒๕๒๕)
– มูคัล ราชวงศ์บันลือโลก. สำนักพิมพ์บรรณกิจ (พ.ศ. ๒๕๕๓)
– รู้อดีต สร้างปัจจุบัน สรรค์อนาคต. (พ.ศ. ๒๕๖๐)
ความเชี่ยวชาญ
– ประวัติศาสตร์ล้านนา
เกียรติคุณที่ได้รับ
– ศาสตราจารย์เกียรติคุณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (พ.ศ. ๒๕๔๔)
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
– มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) (พ.ศ. ๒๕๓๘)
– เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา สาขาประวัติศาสตร์ (พ.ศ. ๒๕๕๕)