แต่งตั้งเมื่อวันที่ ๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ ประเภทวิชาสังคมศาสตร์ สำนักธรรมศาสตร์และการเมือง
ตำแหน่งสำคัญในราชบัณฑิตยสภา
ประวัติการศึกษา
-เศรษฐศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๓๑
-A.M. (Economics) Harvard University, Cambridge, M.A., USA, 1991
-Ph.D. (Economics) Harvard University, Cambridge, M.A., USA, 1994
ประวัติการทำงานวิชาการ/วิชาชีพ
-ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๓)
-ประธานกรรมการบริหาร มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ในพระบรมราชูปถัมภ์ (พ.ศ. ๒๕๖๔ – ปัจจุบัน)
-ประธานกรรมการบริหาร มูลนิธิหอจดหมายเหตุ พุทธทาส อินทปัญโญ (พ.ศ. ๒๕๖๔ – ปัจจุบัน)
-รองประธานกรรมการ มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ปัจจุบัน)
-กรรมการสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (พ.ศ. ๒๕๖๒ – ปัจจุบัน)
-กรรมการอำนวยการวชิราวุธวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๖๔ – ปัจจุบัน)
-กรรมการกำกับดูแลกิจการ United Nations World Food Programme (พ.ศ. ๒๕๖๔ – ปัจจุบัน)
ผลงานวิชาการ/วิชาชีพที่สำคัญ
-Thammarak Moenjak and Veerathai Santiprabhob, “Regulating Big Tech and Non-bank Financial Services in the Digital Era,” Central Banking Journal, April 2021.
Veerathai Santiprabhob, Lessons Learned from Thailand’s Experience with Financial-sector Restructuring, Bangkok: TDRI, 2003.
Veerathai Santiprabhob, “Bank Soundness and Currency Board Arrangements: Issues and Experience,” IMF Paper on Policy Analysis and Assessment 97/11, December 1997.
Tomas Balino, Charles Enoch, Alain Ize, Veerathai Santiprabhob, and Peter Stella,“Currency Board Arrangements: Issues and Experiences,” IMF Occasional Paper 151, April 1997.
ความเชี่ยวชาญ
-เศรษฐศาสตร์มหภาค -เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ -การเงินการธนาคาร ธนาคารกลาง -การพัฒนาอย่างยั่งยืน
เกียรติคุณที่ได้รับ
-รางวันทุนภูมิพล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (พ.ศ. ๒๕๓๑)
-ทุนมูลนิธิอานันทมหิดล (พ.ศ. ๒๕๓๒ – ๒๕๓๗)
-Eisenhower Fellowships (2013)
-S.R. Nathan Fellowships (2019)
-ประธานสภาผู้ว่าการธนาคารกลางแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (SEACEN) (พ.ศ. ๒๕๖๒)
-ประธานสภาที่ปรึกษาแห่งเอเชีย และประธานคณะกรรมการด้านธรรมาภิบาลธนาคารกลาง ธนาคารเพื่อ การ ชำระเงินระหว่างประเทศ (Bank for International Settlements) (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๓)
-ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย (พ.ศ. ๒๕๖๓) -เศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (พ.ศ. ๒๕๖๓)