แต่งตั้งเมื่อวันที่ ๕ เดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ทางสารัตถะ ประเภทวิชาศึกษาศาสตร์ สำนัก ธรรมศาสตร์และการเมือง
ตำแหน่งสำคัญในราชบัณฑิตยสถาน/ราชบัณฑิตยสภา
๑)กรรมการจัดทำพจนานุกรมศัพท์ศึกษาศาสตร์ร่วมสมัย (พ.ศ. ๒๕๖๒ – ปัจจุบัน) ๒)กรรมการในคณะทำงานด้านเสริมสร้างกิจกรรมทางวิชาการ สำนักธรรมศาสตร์และการเมือง (พ.ศ. ๒๕๖๖ – ปัจจุบัน)
ประวัติการศึกษา
– ปริญญาตรี น.บ. (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๑๘
– ปริญญาโท/ปริญญาเอก M.A. / Ph.D. (Socio-Philosophical Foundations of Education), Michigan State University สหรัฐอเมริกา พ.ศ. ๒๕๑๙/ พ.ศ. ๒๕๒๓
ประวัติการทำงานวิชาการ/วิชาชีพ
– กรรมการสภาวิชาการทหารผู้ทรงคุณวุฒิ (พ.ศ. ๒๕๖๓ – ปัจจุบัน)
– กรรมการสภาการศึกษา (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) คณะอนุกรรมการสภาการศึกษาด้านมาตรฐานการศึกษา (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ปัจจุบัน) สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
– ประธานอนุกรรมการใน อ.ก.ค.ศ. วิสามัญเกี่ยวกับวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สนง. คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (พ.ศ. ๒๕๖๒ – ปัจจุบัน)
– คณะกรรมการพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (พ.ศ. ๒๕๕๙ – ปัจจุบัน)
– กรรมการมาตรฐานวิชาชีพ สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา (พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕)
– อนุกรรมาธิการการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรม ในคณะกรรมาธิการการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา (พ.ศ. ๒๕๖๓ – ปัจจุบัน)
– Education for Sustainable Development (ESD) Fellows, SEAMEO (พ.ศ. ๒๕๖๒ – ปัจจุบัน)
-ที่ปรึกษากิติมศักดิ์ และเลขานุการประจำคณะกรรมาธิการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ สภาผู้แทนราษฎร (พ.ศ. ๒๕๔๔ – ๒๕๔๗)
ประวัติการทำงานบริหาร
– รองอธิการบดีด้านพัฒนาวิชาการ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ปัจจุบัน) และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยศึกษาศาสตร์ (พ.ศ.๒๕๖๓ – ปัจจุบัน) มหาวิทยาลัยสยาม
– คณบดีคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ.๒๕๕๕ –๒๕๕๗)
– กรรมการบริหารกองทุนยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม (พ.ศ. ๒๕๕๓ – ๒๕๕๕)
– President, Comparative Education Society of Asia (CESA) (2012 – 2016)
– กรรมการอำนวยการสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (พ.ศ. ๒๕๖๓ – ปัจจุบัน) และประธานคณะกรรมการวิเทศสัมพันธ์ (พ.ศ. ๒๕๖๖ – ปัจจุบัน)
ผลงานวิชาการ/วิชาชีพที่สำคัญ
- Chanita Rukspollmuang and Gerald W. Fry. “Overview of Education in Thailand”. In Lorraince P. Symeco and Martin Hayden (editors). International Handbook on Education in South-East Asia, Springer International Handbooks of Education. Springer, Singapore. (1st Online: October, 4, 2022)
- Chanita Rukspollmuang, (2022). “Transforming Learning for Sufficiency Economy Philosophy and Sustainable Development through the Triangle of Living Learning Lab”, Asia Pacific Education Review, v. 23 n.4 pp. 595-610, December 2022.
- Chanita Rukspollmuang, (2021). “Futures of Higher Education in Post-Digital Age”. UNESCO International Institute for Higher Education in Latin America and the Caribbean (UNESCO-IESALC) and the UNESCO Future of Learning and Innovation team, Project on the Futures of Higher Education. Expert Consultation.
- ชนิตา รักษ์พลเมือง. (๒๕๕๗). กระบวนทัศน์พัฒนศึกษา. กทม. : สำนักพิมพ์วิญญูชน จำกัด
ความเชี่ยวชาญ พัฒนศึกษา การศึกษาเปรียบเทียบ สังคมวิทยาการศึกษา การศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
เกียรติคุณที่ได้รับ
- รางวัลสตรีไทยดีเด่น ประจำปี ๒๕๖๓ สภาสมาคมสตรีแห่งชาติ ในพระบรมราชินูปถัมภ์
- เข็มเสมาคุณูปการและประกาศเกียรติคุณบัตรยกย่องเชิดชูเกียรติผู้ทำคุณประโยชน์ให้แก่กระทรวงศึกษาธิการ ปี ๒๕๖๓
- โล่ประกาศเกียรติคุณสตรีดีเด่นในเวที/เครือข่ายสตรีสากล ประเภทบุคคลของรัฐ เนื่องในวันสตรีสากล ประจำปี ๒๕๖๑ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
– ศาสตราจารย์กิตติคุณ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (๒๘ มิถุนายน ๒๕๖๑)
- Hiratsuka Memorial Award 1985, Japan Comparative Education Society
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ -ประถมาภรณ์ช้างเผือก ๒๘ เมษายน ๒๕๔๐
-มหาวชิรมงกุฎ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๔๕