รองศาสตราจารย์พรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์

ราชบัณฑิต  วันที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๔๖๐  สาขาวิชาจิตวิทยาพัฒนาการ ประเภทวิชาจิตวิทยา สำนักธรรมศาสตร์และการเมือง

ภาคีสมาชิก  วันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๐  สาขาวิชาจิตวิทยาพัฒนาการ ประเภทวิชาจิตวิทยา สำนักธรรมศาสตร์และการเมือง

ตำแหน่งสำคัญในราชบัณฑิตยสถาน/ราชบัณฑิตยสภา

               – กรรมการ ในคณะกรรมการศึกษาและพัฒนาความรู้ทางจิตวิทยาและสังคม (พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๔)

               – กรรมการ ในคณะกรรมการจัดทำพจนานุกรมศัพท์จิตวิทยา (พ.ศ. ๒๕๔๘–ปัจจุบัน)

               – กรรมการ ในคณะกรรมการดำเนินงานเผยแพร่ผลงานทางวิชาการของราชบัณฑิตยสภา (พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๔)

               – คณะราชบัณฑิตที่ปรึกษา (พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๔)

ประวัติการศึกษา

               – ปริญญาตรี        ครุศาสตรบัณฑิต (การสอนภาษาอังกฤษในโรงเรียนมัธยม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๑๑)

               – ปริญญาโท        Master of Education มหาวิทยาลัยนอร์ทแคโรไลนา สหรัฐอเมริกา (พ.ศ. ๒๕๑๓)

               – ปริญญาเอก       Ph.D. (Child Development) มหาวิทยาลัยนอร์ทแคโรไลนา สหรัฐอเมริกา (พ.ศ. ๒๕๑๖)

               – ประกาศนียบัตร   มัธยมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนเขมะสิริอนุสรณ์ (พ.ศ. ๒๕๐๖)

ประวัติการทำงานวิชาการ

               – รองศาสตราจารย์ คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๒๓–๒๕๕๔)

ประวัติการทำงานวิชาชีพ

               – อาจารย์มหาวิทยาลัย คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๑๖–๒๕๓๘)

               – อาจารย์มหาวิทยาลัย คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๓๙–๒๕๕๔)

               – อาจารย์วิทยากร ปปร. สำนักพระปกเกล้า รัฐสภา (พ.ศ. ๒๕๓๗–๒๕๕๘)

ประวัติการทำงานบริหาร

               – รองคณบดีฝ่ายวางแผนฯ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๓๑–๒๕๓๓)

               – ประธานสภาคณาจารย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (๒ สมัย) (พ.ศ. ๒๕๒๙ และ พ.ศ. ๒๕๓๖)

               – คณบดีผู้ก่อตั้งคณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๓๙–๒๕๔๗)

               – กรรมการสภามหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (๒ สมัย) (พ.ศ. ๒๕๓๓–๒๕๓๕ และ พ.ศ. ๒๕๔๖–๒๕๔๗)

               – กรรมการสภาสถาบันพระปกเกล้า รัฐสภา (พ.ศ. ๒๕๔๙–๒๕๕๑)

ผลงานวิชาการ

                 1. Bekanan, P,Sapp,G., & Noisuwan,T. (1975). The Utilities of models in changing self-esteem of Institutionalized Thai and American Adolescnts. The Journal of Social Psychology : 155-161

                 2. Sirivunnabood, P. (1989). Moral cognition in contemporary Thai Society. Recent Advances in Social Psychology : An Internationl Perspective, 39-51.

                 3. Sirivunnabood,.P. (1994) A Comparision of Poltitical Moral Behaviors between Contemporary Thai Polititcians and Voters. ZArticle handout in the 23rd International Congress of Applied Psychology

                     4. Sirivunnabood,P.,Choivanich,P., Wattakakosol, R. &., Barret, M. (1998)  Current State of Psychology in Thailand : Results of a Key Informant Survey. Asian Psychology, 1, 47-54,

                     5. Sirivunnabood, P., Uwanno, T., Rithakananone, P., Kotrajaras, S., Maneesri, K., & Suttiwan, P. (2002). The Study of Patterna of Relationships Between Contemporary Behavior of Thai People and Socialization Process of Thai Families is Relation to the Development of the Country. (Article handout and CD proceeding in the 26th International Congress of Applied Psychology, 7-12 July 2002, Singapore)

                     6. Sirivunnabood, P., Supmee, W., Nolrajsuwat, K. (2005). Relationship Between Adolescents’ Democratic Behaviors, Political Responsibilities and Parenting Styles. (Article handout and CD Proceeding in the Ninth Internatioan Conference on Thai Studies. April 3-6, 2005. Northern Illinois University).

                     7. Tuicomepee, A. Sirivunnabood, P. Affects of the Tsunami disaster on Thai children, youth and their families: A study on psychological factors in their daily living. Bangkok: Chulalongkorn University 150 pages 2011.

ความเชี่ยวชาญ

               – พัฒนาการมนุษย์ ตั้งแต่วัยทารก ถึง วัยสูงอายุ

               – จิตวิทยาการเป็นผู้นำ, จิตวิทยาจัดการความขัดแย้ง

เกียรติคุณที่ได้รับ

เกียรติคุณหรือรางวัลที่ได้รับได้รับจากเดือน-ปีที่ได้รับ
๑. ได้รับรางวัลผลงานวิจัย ดี– จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๔๒๙
๒. ศิษย์เก่าดีเด่น– โรงเรียนเขมะสิริอนุสรณ์๒๔ สิงหาคม ๒๕๔๐
๓. บุคคลที่คณะครุศาสตร์จุฬาฯ ขอปรบมือให้– สมาคมครุศาสตร์สัมพันธ์๑๐ กรกฎาคม ๒๕๔๒
๔. ประกาศนียบัตรชั้นสูง กิตติมศักดิ์– สถาบันพระปกเกล้า๑๙ มิถุนายน ๒๕๔๓
๕. อาจารย์ดีเด่นระดับมหาวิทยาลัย– จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย๒๖ มีนาคม ๒๕๔๘
๖. ได้รับรางวัลศิษย์เก่าเกียรติยศ– คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๑
๗. ราชบัณฑิต– ราชบัณฑิตยสภา๑๔ มิถุนายน ๒๕๖๐

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

               – ประถมาภรณ์ช้างเผือก วันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๓๔

               – มหาวชิรมงกุฎ วันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๓๙