ศาสตราจารย์ ดร.พรชัย ชุนหจินดา

ภาคีสมาชิก  แต่งตั้งเมื่อวันที่ ๓๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๘  สาขาวิชาบริหารธุรกิจ ประเภทวิชาสังคมศาสตร์ สำนักธรรมศาสตร์และการเมือง

ประวัติการศึกษา

         – Ph.D. (Finance) Florida International University, ๒๕๓๔-๒๕๓๘
         – M.S. (Finance) Florida International University, ๒๕๓๒-๒๕๓๔
         –  บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๒๘-๒๕๓๑
         –  บัญชีบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ ๒) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๔-๒๕๒๘

ประวัติการทำงานวิชาการ

         – ศาสตราจารย์ประจำภาควิชาการเงิน คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๔๘-ปัจจุบัน
         – คณะกรรมการวิชาชีพบัญชีด้านวางระบบ สภาวิชาชีพบัญชี, ๒๕๕๗-ปัจจุบัน
         – คณะอนุกรรมการวินิจฉัยการเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงำกิจการ
         – สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์, ๒๕๕๗-ปัจจุบัน
         – คณะอนุกรรมการจัดทำบันทึกข้อตกลงและประเมินผลการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจ (สาขาขนส่ง)
         – สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ, ๒๕๕๗-ปัจจุบัน
         – คณะอนุกรรมการด้านโทรคมนาคม สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ, ๒๕๕๘-ปัจจุบัน
         – คณะอนุวุฒยาจารย์ ประจำสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์, ๒๕๕๔-ปัจจุบัน
         – อนุกรรมการสภามหาวิทยาลัยด้านหลักสูตรและการจัดการศึกษา  มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๕๐-๒๕๕๓  
         – Visiting Professor, EDHEC School of Business ประเทศฝรั่งเศส, ๒๕๔๑-๒๕๔๖

ประวัติการทำงานบริหาร

          – เลขาธิการ โครงการปริญญาเอกร่วมสาขาบริหารธุรกิจ (JDBA), ๒๕๕๐-๒๕๕๘

          – กรรมการอำนวยการ สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษา (TU-RAC) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๕๔-๒๕๕๗

          – รองคณบดีฝ่ายบัณฑิตศึกษา คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๕๓-๒๕๕๖

          – รองคณบดีฝ่ายบัณฑิตศึกษาและวิเทศสัมพันธ์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๔๑-๒๕๔๕

ผลงานวิชาการ

ตำรา

– “การบริหารการเงินระหว่างประเทศ” (ปรับปรุงครั้งที่ ๓ และพิมพ์ครั้งที่ ๖)  สิงหาคม ๒๕๕๘

หนังสือ

– “Determinants of Asian Capital Flight and the Impact of 1997 Economic Crisis,” in Economic  Dynamism of Asia in the New Millenium, edited by Yoshinari Shimisu, World Scientific, 2007, (with K. Sirodom).

งานวิจัย

– Chunhachinda, P., Shankar, S., and Watanajiraj, C., 2006. Higher-Order Systematic Co-Moments in Asset Pricing: Evidence from Thailand after the 1997 Economic Crisis, The International Journal of Finance, Vol.18 (4), pp 4228-4251.

– Chunhachinda, P., de Boyrie, M.E., and Pak, S.J., 2008. Thailand Capital Flight Through Trade with the US During Times of Political and Economic Instability, Review of Pacific Basin Financial Markets and Policies, Vol.11 (3), pp 363-387.

– Chunhachinda, P., and Li Li, 2010. Efficiency of Thai Commercial Banks: Pre V.S. Post 1997 Financial Crisis, Review of Pacific Basin Financial Markets and Policies, Vol.13 (3), pp 417-447.

– Nathaphan S., and Chunhachinda, P., 2010. Estimation Risk Modeling in Optimal Portfolio Selection: An Empirical Study from Emerging Markets, Economics Research International, Vol. 2010, Article ID 340181, 10 pages.

– Treewichayapong, S., Chunhachinda, P., and Padungsaksawasdi, C., 2012.  Bankruptcy Prediction of Real Estate Firms in Thailand, The International Journal of Finance, Vol.23, No.1, pp 6672-6691.

– Nathaphan, S., and Chunhachinda, P., 2012. Determinants of Growth for Thai Mutual Fund Industry, International Research Journal of Finance and Economics, ISSN 1450-2887, Issue 86, pp 120-131.

– Chunhachinda, P., and Li Li, 2014. Income Structure, Competitiveness, Profitability and Risk:  Evidence from Asian Banks, Review of Pacific Basin Financial Markets and Policies, Vol.17, No. 23, pp 1-23.

– Fuangkasem, R., Chunhachinda, P., and Nathaphan, S., 2014. Information Transmission Among World Major Gold Futures Markets: Evidence From High Frequency Synchronous Trading Data, Journal of US-China Public Administration, ISSN 1548-6591, Vol. 11, No. 3., pp 255-269.

เกียรติคุณที่ได้รับ

         – เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ชั้นมหาวชิรมงกุฎ, ๒๕๕๕
         – รางวัลผู้สร้างชื่อเสียงให้แก่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ด้านการวิจัย, ๒๕๕๐
         – ศิษย์เก่าดีเด่นคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๕๓
         – รางวัลผู้มีผลงานวิจัยที่ถูกอ้างอิง (Citation) ในฐานข้อมูลสากล ISI, SCOPUS รวมจำนวนครั้งสูงสุด (อ้างอิง พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๕๖) สายสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๕๗